วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551


รายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกงานประสบการณ์วิชาชีพ ของ นางสาวยุพาพร วงษ์วิลัย คณะบริหารการจัดการแขนงคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปี 4

สถานที่ทำการฝึก บริษัท เฮกเกอร์ บราเดอร์ จำกัด ที่อยู่ 889 อาคารไทยซีซี ทาวเวอร์ ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ เบอร์โทร 02-6739130 ต่อ 120



วันที่ 10 มิถุนายน 2551
8.00-9.30น เคลียร์เอกสารพร้อมเก็บเงินช่างและเก็บรายละเอียดงาน
9.30-10.40 ลงเอกสารในการเบิกสินค้าที่ช่างทำการเบิกไป
10.40-12.00 ทำรายงานบัญชี
13.00 -15.00 ส่งงานพร้อมกับส่งบัญชีถ่ายเอกสาร
15.00-17.00 เคลียร์งานต่างๆพร้อมเก็บรายละเอียดงานอีกครั้ง
วันที่ 11 มิถุนายน 2551
8.00 เคลียร์เอกสารพร้อมเก็บเงินช่างเช็คสินค้าที่เอามาคืน
9.30-10.40 ลงเอกสารช่างที่มีการเบิกสินค้า
10.40-12.00 ทำรายงานบัญชี
13.00-15.00 พิมพ์เอกสารส่งนายตอนบ่ายโมงและทำการเช็คJoB ที่ทำการส่ง
15.00-17.00 ส่งเงินกับบัญชีถ่ายเอกสารพร้อมกับเคลียร์เอกสารที่ทำค้างไว้
วันที่ 12 มิถุนายน 2551
8.00-9.30 เคลียร์เอกสารเช็คสินค้า
9.30-10.40 ลงJOB งานให้ช่างพร้อมจัดสินค้าให้และเคลียร์เอกสารที่ช่างค้าง
10.40-12.00 ลงบัญชีและเคลียร์เอกสาร
13.00-15.00 พิมพ์ เอกสารที่ทำการยกเลิกและพิมพ์เอกสารช่างที่อยู่ต่างจังหวัดพร้อมกับคิดเงิน
15.00-17.00 เคลียร์เอกสารส่งบัญชี ถ่ายเอกสารเคลียร์บิล
วันที่ 13 มิถุนายน 2551
8.00-9.30 เคลีย์บิลเช็คงานช่างพร้อมสินค้าที่เอามาคืน
9.30-10.40 ลงเอกสารในการเบิกสินค้าพร้อมเคลีย์บิล
10.40-12.00 ทำบัญชีลงเอกสาร
13.00-15.00 พิมพ์เอกสารส่งนาย,พิมพ์JOB ในการยกเลิกทำการเอกสารส่งหัวหน้า
15.00-17.00 ส่งเงินบัญชีเคลียร์บิลถ่ายเอกสารเก็บJOB ที่ยังคงค้างตามงาน
วันที่ 16 มิถุนายน 2551
8.00-9.30 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินเช็คสินค้าที่ช่างทำคืน
9.30-10.40 ลงเอกสารในการเบิกสินค้าพร้อมเคลียร์เงินที่ช่างเอามาส่ง
10.40-12.00 ทำบัญชีส่งพร้อมเคลียร์งาน
13.00-15.00 เคลียร์เงินพร้อมเก็บงานที่ยังคงค้าง
15.00-17.00 ตามเอกสารที่หัวหน้าทำการเซ็นต์ พร้อมเคลียร์เงินส่งบัญชี
วันที่ 17 มิถุนายน 2551
8.00-9.30 เคลียร์เอกสารสกับช่างพร้อมเก็บเงินและเคลียร์สินค้าที่เอามาคืน
9.30-10.30 ทำบัญชีและเก็บรายละเอียดของงานเพื่อเคลียร์ส่งตอนบ่าย
10.30-12.00 พิมพ์เอกสารส่งงานและทำการประสานงานกับบริษัทอื่นเพื่อทำการซ่อมสินค้า
13.00-15.00 ส่งบัญชีเคลียร์เงินและเก็บรายละเอียดของงานอีกครั้ง
15.00-17.00 รับโทรศัพท์ตอบปัญหาสินค้าดำเนินงานให้ลูกค้า
วันที่ 18 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารพร้อมเก็บเงินช่างนับสินค้าพร้อมเก็บเอกสารให้ถูกต้องเรียบร้อย
10.30-12.00 ทำบัญชีและเตรียมเอกสารที่จะทำการส่งตอนบ่ายพร้อมกับรับโทรศัพท์ลุกค้า
13.00-15.00 ส่งบัญชีและเก็บรายละเอียดของงานอีกครั้ง
15.00-17.00 ขายสินค้าพร้อมรับโทรศัพท์พร้อมดำเนินเอกสารที่ยังคงค้างอยู่
วันที่ 19 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารที่ช่างนำมาคืนพร้อมตรวจนับสินค้าพร้อมเก็บเงิน
10.30-12.00 ทำบัญชีและเตรียมเอกสารที่จะทำการส่งตอนบ่าย
13.00-15.00 ส่งบัญชีพร้อมกับเอกสารตามเอกสารที่คงค้างและประสานงานกับฝ่ายประสานงานเรื่องซ่อม
15.00-17.00 รับโทรศัพท์ และเก็บรายละเอียดของงานถ่ายเอกสารพิมพ์งานในส่วนที่ดำเนินงานอยู่
วันที่ 20 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารที่ช่างนำมาพร้อมกับตัวสินค้าและทำการเก็บเงินและลงข้อมูลสินค้าที่มีการเบิกไปบริการให้กับลูกค้าเป็นช่วงเสาร์และอาทิตย์
10.30-12.00 ทำบัญชีและเตรียมเอกสารที่จะทำการส่งช่วงบ่าย.
13.00-15.00 ส่งบัญชีและเตรียมเอกสารและถ่ายเอกสาร
15.00-17.00 รับโทรศัพท์ลูกค้าและตามเรื่องเอกสารที่ดำเนินไปทำการส่งซ่อม
วันที่ 23 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารเก็ยเงินและจัดเก็บข้อมูลลงเอกสารการเบิกสินค้า
10.30-12.00 ทำบัญชีและเก็บรายละเอียดของงานเพื่อทำการส่งช่วงบ่าย
13.00-15.00 รับโทรศัพท์ลูกค้าและส่งเงินกับฝ่ายบัญชี
15.00-16.00 เคลียร์เอกสารให้เสร์จและลากลับก่อนเวลาที่กำหนดไว้มีธุระ
วันที่ 24 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารเก็บเงินและเก็บรายละเอียดของงาน
10.30-12.00 ทำบัญชีและเตรียมเอกสารในการส่งช่วงบ่าย
13.00-15.00 พิมพ์เอกสารเกี่ยวกับการรับซ่อมสินค้าและดำเนินงานประสานงานไปยังฝ่ายซ่อมพร้อมเคลียร์เอกสารให้เรียบร้อยพร้อมกับการส่งเงินบัญชี
15.00-17.00 รับโทรศัพท์ลุกค้าและเก็บรายละเอียดของงาน
วันที่ 25 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารเก็บเงินพร้อมลงข้อมูล
10.30-12.00 ลงเอกสารและทำบัญชีเพื่อทำการส่งตอนบ่าย
13.00-15.00 ส่งเอกสารและถ่ายเอกสารพร้อมดำเนินเรื่องที่ยังคงค้างอยู่
15.00-17.00 เคลียร์รายละเอียดให้เสร็จพร้อมเช็คข้อมูลลูกค้า
วันที่ 26 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารช่างและเก็บเงิน
10.30-12.00 ทำบัญชีและเตรียมเอกสารส่งตอนบ่าย
13.00-15.00 ทำบัญชีส่งงานพิมพิ์เอกสารในการรับซ่อม
15.00-17.00 เคลียร์เอกสารและเก็บเอกสารให้เรียบร้อย
วันที่ 27 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์เอกสารเก็บเงินเคลียร์บิล
10.30-12.00 ทำบัญชีพร้อมเตรียมเอกสารทำการส่งในตอนบ่าย
13.00-15.00 ส่งเงินบัญชีพร้อมบิลและลงข้อมูลพร้อมรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 เคลียร์เอกสารให้เสร็จและดำเนินงานที่ยังคงค้างอยู่
วันที่ 30 มิถุนายน 2551
8.00-10.30 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินและเคลียร์สินค้าที่มีการนำมาคืน
10.30-12.00 ลงเอกสารและทำการเบิกสินค้าพร้อมพิมพ์เอกสารงานส่งตอนบ่าย
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมเคลียร์บิลส่งเงินและเก็บเอกสารให้เรียบร้อย
15.00-17.00 เก็บรายละเอียดงานให้เสร็จ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมเคลียร์เงินและเก็บเอกสารพร้อมลงข้อมูลลูกค้า
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมเคลียร์เงินส่งและเก็บเอกสารให้เรียบร้อย
15.00-17.00 ถ่ายเอกสารและลงข้อมูลลูกค้าและทำข้อมูลส่งรายเดือนของระบบลุกค้าพร้อมข้อมูลในการซ่อม
วันที่ 2 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมตรวจเช็คสินค้าที่ทำการคืนพร้อมเคลียร์เงิน
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมทำการส่งเงินและเคลียร์บิลกับบัญชีและถ่ายเอกสาร
15.00-17.00 เก็บรายละเอียดของงานและรับโทรศัพท์ลุกค้าพร้อมกับทำเอกสารการรับซ่อม
วันที่ 3 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินและลงบัญชีพร้อมเก็บรายละเอียดงาน
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมส่งบิลและเก็บเอกสารให้เรียบร้อย
15.00-17.00 รับโทรศัพท์ลูกค้าพร้อมรับแจ้งการซ่อมสินค้าและทำใบเสนอราคา
วันที่ 4 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินและตรวจเช็คอะไหล่ที่นำมาคืน
13.00-15.00 ทำบัญชีและถ่ายเอกสารพิมพ์ใบแจ้งซ่อมสินค้าและดำเนินงานประสานงานต่อ
15.00-17.00 เคลียร์บิลให้เรียบร้อยพร้อมเก็บเอกสารที่ยังคงค้างพร้อมรับโทรศัพท์ลุกค้าและประสานงานต่อ
วันที่ 7 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลที่ช่างนำงานไปซ่อมให้ลุกค้าในช่วงวันเสาร์และอาทิตย์พร้อมลงงานและเปิดบิลใหม่พร้อมเบิกสินค้าเพื่อให้ช่างทำการซ่อมหรือทำการเปลี่ยนสินค้าให้กับลุกค้าในวันต่อไป
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมเคลียร์บิลส่งถ่ายเอกสารพิมพ์เอกสารที่ต้องส่งกับฝ่ายบัญชี
15.00-17.00 เคลียร์งานให้เรียบร้อยพร้อมรับโทรศัพท์จากลุกค้าและประสานงานช่างเพื่อทำการรับซ่อมในวันต่อไป
วันที่ 8 กรกรฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินและเคลียร์เอกสารให้เรียบร้อยพร้อมกับเก็บเอกสารให้เรียบร้อย
13.00 15.00 ทำบัญชีและลงข้อมูลลุกค้าพร้อมถ่ายเอกสารต่างๆพิมพ์ใบรับแจ้งซ่อมและทำการส่งสินค้าเพื่อซ่อม
15.00-17.00 เก็บรายละเอียดของงานและรับโทรศัพท์ลุกค้า
วันที่ 9 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมทำการเก็บเงินและเก็บเอกสารให้เรียบร้อยพร้อมลงข้อมูลการเบิกสินค้าของงาน
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมเคลียร์เงินส่งและเก้บเอกสารให้เรียบร้อย
15.00-17.00 เก็บรายละเอียดของงานต่างๆที่คงค้างและรับโทรศัพท์ลุกค้า
วันที่ 10 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมเก้บเงินและลงบันทึกข้อมูลลุกค้าที่จะทำการเบิกสินค้าในแต่ล่ะตัว
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมเก็บเอกสารให้เรียบร้อยและทำรายงานการซ่อมให้กับลูกค้า
15.00-17.00 เคลียร์บิลให้เรียบร้อยพร้อมรับโทรศัพท์ลูกค้า
วันที่ 11 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินกับช่างและพิมพ์รายงานการเก็บเงิน
13.00-15.00 ทำบัญชีการส่งเงินพร้อมติดสำเนาให้เรียบร้อยก่อนการส่งบัญชี
15.00-17.00 ส่งบัญชีพร้อมรับโทรศัพท์ลุกค้าและทำใบรับซ่อม
วันที่ 12 กรกฎาคม 2551
8.00-10.00 เคลียร์บิลพร้อมเก็บเงินและเคลียร์เอกสารให้เสร็จก่อนเที่ยงพร้อมรับโทรศัพท์ลูกค้า
10.00-12.00 ติดสำเนาเอกสารให้เรียบร้อยเพื่อที่จะทำการส่งบัญชีช่วงบ่ายพร้อมรับโทรศัพท์ลุกค้า
13.00-15.00 ทำรายงานการส่งเงินรับจ่ายพร้อมรับโทรศัพท์ลุกค้าพร้อมทำใบรับซ่อม
15.00-17.00 ส่งเงินบัญชีพร้อมเก้บงานให้เรียบร้อยพร้อมเคลียร์เอกสารที่ยังค้างอยู่
วันที่ 13 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เหมือนเดิมเก็บเงินช่างพร้อมโทรหาลุกค้าในกรณีที่ช่างไม่สามารถทำงานได้ท้น
13.00-15.00 ทำบัญชีพร้อมส่งเอกสารในช่วงบ่ายและรับปัญหาลูกค้าพร้อมรับใบรับซ่อม
15.00-17.00 ส่งเงินพร้อมถ่ายเอกสารและรับเรื่องจากลุกค้าและตามงานที่ยังไม่เสร็จให้เรียบร้อย
วันที่ 14 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 ส่งเงินพร้อมเคลียร์เอกสารที่ยังคงค้างอยู่
วันที่ 15 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เงินพร้อมพิมพ์เอกสารใบรับซ่อมให้ลุกค้า
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 ส่งเงินพร้อมเคลียร์เอกสารที่ยังคงค้างอยู่


วันที่ 16 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เงินพร้อมพิมพ์เอกสารใบรับซ่อมให้ลุกค้า
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
วันที่ 17 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารพร้อมรับใบงานที่ทำการจ่ายกับช่างไป
13.00-17.00 ทำการลงบันทึกบัญชีรายรับรายจ่ายพร้อมพิมพ์เอกสารให้เรียบร้อยก่อนส่งให้กับฝ่ายบัญชีอีกครั้ง
วันที่ 18 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.17.00 มีประชุม
วันที่ 19 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 ส่งส่งบัญชีและเก็บงานที่คงค้าง
วันที่ 20 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 ส่งเงินพร้อมเคลียร์เอกสารที่ยังคงค้างอยู่
วันที่ 21 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 เคลียร์เอกสารมีประชุม
วันที่ 22 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 ส่งเงินบัญชีส่งอะไหล่ให้ลูกค้า
วันที่ 23 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 รับโทรศัพท์ มีประชุม เคลียร์เอกสารที่คงค้าง
วันที่ 24 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารและรับแจ้งการซ่อมและขายสินค้าพร้อมเคลียร์บิล
13.00-15.00 ทำบัญชีรับจ่ายและเอกสารรับโทรศัพท์ลูกค้า
15.00-17.00 ส่งเงินพร้อมเคลียร์เอกสารที่ยังคงค้างอยู่
วันที่ 25 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เงินกับช่างและทำการรวบรวมเอกสาร
13.00-17.00 พิมพิ์รายงานการเบิกเอกสารพร้อมกับส่งสำเนาการเบิกและสำเนาการส่งเครื่องสำหรับการส่งซ่อม
วันที่ 26 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคียร์เอกสารพร้อมรับโทรศัพท์ลุกค้า
13.00-17.00 ทำบัญชีรายวันพร้อมทำสำเนาบัญชี พิมพิ์เอกสารให้หัวหน้าเซ็นต์พร้อมกับรายงานสำเนาที่่ทำขึ้น.
วันที่ 27 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารพรอ้มรายงานการทำงานของช่าง
13.00-17.00 ส่งอะไหล่ให้ลูกค้าพร้อมจัดทำบัญชีรายวันให้กับบัญชีก่อนทำการส่งอีกครัั้ง
วันที่ 28 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคียร์เอกสารพร้อมทำบัญชีรายวันคัดแยกสำเนาพิมพ์เอกสารให้หัวหน้าเซ็นต์เช่นการเบิกเงิน
13.00-17.00 ทำบัญชีรายวันพร้อมรับโทรศัพท์พร้อมทำฐานโปรแกรมข้อมูลตัวใหม่มีการใช้งาน
วันที่ 29 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 มีประชุมพร้อมเบิกอะไหล่ให้กับช่างและทำการเคลียร์เงิน
13.00-17.00 ทำบัญชีรา่ยวันพร้อมส่งอะไหล่ให้ลูกค้า
วันที่ 30 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เงินพร้อมรับโทรศัพท์มีการประสานงานกับลุกค้าและบริษัทอื่นๆ
13.00-17.00 ทำบัญชีรายวันและทำการเบิกอะไหล่เช็คสต็อกสินค้าพรอ้มจัดทำสำเนา่
วันที่ 31 กรกฎาคม 2551
8.00-12.00 เคลียร์เอกสารจัดทำสำเนาพร้อมทำบัญชีรายวัน
13.00-17.00 มีประชุมพร้อมเคลียร์เอกสารทำการเบิกเงินให้กับช่างที่มีการจ้างของต่างจังหวัด

วันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2551








สังคม สารสนเทศเป็นสังคมใหม่ การอยู่ร่วมกันในสังคมสารสนเทศ จำเป็นต้องมีกฏเกณฑ์ เพื่อการอยู่ร่วมกันโดยสันติและสงบสุข เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ทุกวันนี้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาท ในชีวิตประจำวัน มีการใช้คอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารกันมาก ขณะเดียวกันก็มีผู้ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในทางที่ไม่ถูก ไม่ควร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และเมื่อมีกฎหมายแล้ว ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะปฏิเสธ ความผิดว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้
ทำไมจึงต้องมีการออกกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้มีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สำนักงาน อัตโนมัติ ตลอดจนเครื่องมือสื่อสารเพื่อการประกอบกิจการงานและการทำธุรกรรมต่าง ๆ โดยเทคโนโลยีเอื้อประโยชน์ ต่อการทำงานด้านต่าง ๆ ทำให้มีผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้นเรื่อย ๆ การมีกฎหมายจะทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce E-Business) โดย ที่นานาชาติที่พัฒนาแล้วต่างพัฒนากฎหมายของตนเอง โดยเน้นความเป็นสากลที่จะติดต่อค้าขายระหว่างกัน ด้วยเหตุนี้ ประเทศไทยก็จำเป็นที่จะต้องออกกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเช่นกัน
หากพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสถานการทำงานขององค์กรทั่วไป ทุกองค์กรกำลังก้าวเข้าสู่สังคมสารสนเทศ มีความพยายามที่จะลดการใช้กระดาษเอกสาร หันมาใช้ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์แทน และนำมาแลกเปลี่ยน (EDI) กันได้ง่าย ขณะเดียวกันการดำเนินการทางธุรกิจ เช่น การฝากถอนเงินอัตโนมัติ การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และ การติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดน มีการซื้อขายสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการบริหารรายการย่อยขององค์กร ผ่านทางเครือข่าย มีการทำงานระบบออนไลน์ ที่สามารถเปิดบริการการทำงานได้ตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย
หลายประเทศ เช่น สิงคโปร์ อินเดีย เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา ฯลฯ ล้วนมีกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของตน แล้ว สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติเป็นผู้ร่าง มีการกำหนดกฎหมายที่จะร่างทั้งสิ้นหกฉบับ















กฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เน้นในเรื่องข้อความที่จัดทำขึ้นเป็นรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะไม่ถูกปฏิเสธความมีผลทางกฎหมาย ถ้าข้อมูล ได้จัดทำขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถที่จะเข้าถึงเพื่อนำข้อความออกมาใช้ในภายหลังได้ ให้ถือว่า ข้อความนั้นได้ทำเป็นหนังสือ หรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแล้ว (มาตรา 6 และมาตรา 7) โดยมีการพิสูจน์หลักฐานที่เป็น ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน (มาตรา 10) ข้อมูลเหล่านี้สามารถส่งและรับผ่านเครือข่ายเพื่อ รองรับวิทยาการสมัยใหม่ กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เน้นในเรื่องการใช้ลายมือชื่อดิจิตอล (digital signature) เพื่อยืนยันเอกสารหรือหลักฐาน และองค์กรที่ทำ หน้าที่ออกใบรับรองลายมือชื่อ การประกอบการรับรองลายมือชื่ออนุญาต ตลอดจนการกำกับการประกอบการรับรอง เพื่อให้ระบบลายมือชื่อดิจิตอลเป็นส่วนหนึ่งเสมือนการลงลายมือชื่อในเอกสาร กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เป็นกฎหมายที่เข้ามากำกับดูแลความสงบสุขของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นในเรื่องสิทธิการใช้ การ ละเมิดสิทธิ์ โดยเฉพาะผู้บุกรุกหรือ hacker ที่ถือว่าเป็นการกระทำ การบุกรุก และเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากข้อมูลในรูปดิจิตอลสามารถเผยแพร่และกระจายได้รวดเร็ว การส่งต่อ การกระจายข่าวสารอาจกระทบ ถึงสิทธิส่วนบุคคล กฎหมายจึงคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายว่าด้วยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากกิจการทางด้านการเงินและการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบที่เป็นทั้ง eCash eMoney หรือ การใช้เครดิตแลกเปลี่ยนกันจะมีบทบาท มีการใช้ตั๋วสัญญาใช้เงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ใช้รูปแบบเอกสารการเงิน อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ กฎหมายลำดับรองรัฐธรรมนูญมาตรา 78
ในมาตรา 78 แห่งรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยปัจจุบัน เน้นให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและ ตัดสินใจในกิจการท้องถิ่นได้เอง พัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นและระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ตลอดทั้ง โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ในท้องถิ่นให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันทั้งประเทศ
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีส่วนช่วยในการสร้างประโยชน์ในเรื่องความสงบสุข และลดอาชญากรรมทาง ด้านเทคโนโลยี ส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมั่นในเรื่องการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์





การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่าย
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยกำลังอยู่ในระดับการร่าง โดยสองฉบับแรกกำลังเข้าสู่สภาในการประชุม สมัยต่อไป ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในอีกไม่นาน
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเพียงเครื่องมือสำหรับการสร้างความน่าเชื่อถือ และความสงบสุขของคนใน สังคมสารสนเทศ สิ่งที่สำคัญคือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนจะต้องรู้ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของตนเอง การดูแลสิทธิ ของตนเอง ไม่นำสิทธิของตนเองไปให้ผู้อื่นใช้ ซึ่งหากผู้อื่นนำไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย เช่น นำรหัสลับของตนเองไป ใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย เจ้าของจะต้องรับผิดชอบและจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้


กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ


กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย
จุดเริ่มกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
เริ่มวันที่ 15 ธันวาคม 2541 "คณะกรรมการเทคโนโลยีีีีสารสนเทศแห่งชาติ" เรียกโดยย่อว่า "กทสช"
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยกฎหมาย 6 ฉบับ ได้แก่
1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีการวางนดยบายและกำหนดหลักเกณฑ์ในการประกอบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในทางการค้าทั้งภายในและระหว่างประเทศ
2. กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับสถานะทางกฎหมายการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อระบุหรือยืนยันตัวบุคลโดยคำนึงถึงความเป็นกลางและความน่าเชื่อถือของเทคโนโลยี
3. กฎหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อรองรับแนวนโยบายพื้นฐานในการพัฒนาชุมชนและการกระจายสารสนเทศให้เท่าเทียมกันและทั่วถึงทั้งประเทศ ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม เพื่อนำไปสู่สังคมแห่งปัญญาและการเรียนรู้
4.กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคล เพื่อวางหลักเกณฑ์การคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคล เช่น ชื่อ นามสกุล อายุ เพศ กำหนดสิทธิให้คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคลที่อาจถูกนำไปประมวลผลเผยแพร่ในทางมิชอบซึ่งจะถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ
5.กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความปลอดภัยในยุคคอมพิวเตอร์ เป้นการกำหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำความผิดต่อระบบงานคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล ระบบเครือข่าย
6.กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกำหนดสิทธิหน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างบุคลฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น